
ควรรักษาด้วยเลเซอร์แบบไหนจึงได้ผลดีที่สุด ? หลักการคือต้องเลือกเครื่องเลเซอร์ที่สามารถทำลายเป้าหมายที่ต้องการ โดยเครื่องเลเซอร์ที่เหมาะสมและได้ผลดีที่สุดคือ คาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ CO2 Laser
แล้วทำไมไม่ใช้จี้ไฟฟ้า ? จี้ไฟฟ้าสามารถทำได้ก็จริงแต่เนื่องจาก และไม่สามารถความคุมความแม่นยำได้ดีจึงมีโอกาสเป็นแผลเป็นได้มากสุด
เครื่องคาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ CO2 Laserมีหลายชนิด หลายแบบ หลายรุ่น หลายยี่ห้อ คุณภาพและผลการรักษาแตกต่างกันไหม?
หมอบอกได้เลยว่ามีความต่างกันมาก แม้หลักการเหมือนกันคือใช้ความยาวคลื่น 10600nm และให้ คาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ เหมือนกัน แต่ด้วยการพัฒนาและความละเอียดไม่เหมือนกัน
- Co2 laser จากจีน จะถือได้ว่ามีความละเอียดแม่นยำน้อยสุด
- ดีขึ้นมาเป็นของจาก เกาหลี และ ไทย แต่ข้อเสียคือไม่สามารถทำให้จุดที่จี้แคบและพลังงานไม่ลึก
- CO2 laser ที่ดีที่สุดคือของอเมริกา(sharplan co2laser) เพราะสามารถปรับค่าพลังงานได้หลากหลายและมีความละเอียดแม่นยำสูงและเป็นเครื่องที่มีราคาสูง ค่าอะไหล่เครื่อง Sharplan co2 laser ของUSAนั้นสูงมากสามารถซื้อเครื่องใหม่จากจีน เกาหลี ไทยราคาไม่แพงได้เลย แต่ด้วยมาตรฐานและจรรยาแพทย์ที่อยากให้คนไข้ได้รับผลการรักษาที่ดีที่สุดSharplan CO2 laser จึงเป็นเพียงคำตอบที่ดีที่สุดเพียงคำตอบเดียว
ข้อที่สำคัญที่สุด คือ การรักษาด้วยเครื่องชนิดนี้ต้องใช้ความชำนาญและประสบการณ์ ในการรักษาเพราะเราต้องรู้ถึงความลึกที่ควรจะพอไม่ให้เป็นหลุม และการแต่งแผลให้สวยจึงจำเป็นต้องใช้เลเซอร์ที่มีความละเอียดในการรักษาเพื่อได้ผลการรักษาที่ดีที่สุด
ข้อคิด การรักษา ไฝ ขี้แมลงวัน ติ่งเนื้อ กระเนื้อ ต่อมเหงื่อใต้ตา ดูเหมือนง่าย แต่ขอบอกเลยว่าควรระมัดระวังเพื่อไม่ให้เสียใจในอนาคต เรา BSL clinic รักษาด้วย คาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ ตั้งแต่ 30 ปีก่อนเป็นรายแรกที่เลเซอร์มาจี้ ไฝ จึงเข้าใจและอยากให้คนไข้ได้รับการดูแลรักษาที่ดี ผิวสวย และปลอดภัย
CO2 laser ใช้รักษาอะไรได้บ้าง ?







ผลการรักษาที่ BSL Clinic
แผลหลังทำ CO2 laser จะเรียบ ขนาดเล็กมาก มีสะเก็ดเล็กน้อยหลังทำโดยสะเก็ดจะหลุดออกไปเองตามธรรมชาติในระยะ 5-7 วัน จากนั้นจะเห็นเนื้อผิวหนังสีชมพูเกิดขึ้นใหม่ โดยจะไม่เป็นแผลเป็น ถ้าได้ทำโดยแพทย์ผู้มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ
ส่วนใหญ่มักหายในครั้งแรกที่ทำการรักษา ยกเว้น กรณีไฝที่รักษาลึก อาจต้องนัดมาทำซ้ำเพื่อเอารากออกให้หมดอีกครั้งเพื่อไม่ให้เป็นรอยแผลเป็น
บทความโดย นพ. วุฒินันท์ สิทธิผลวนิชกุล (Wutinan Sithipolvanichgul, MD)
ผู้เชี่ยวชาญด้านเลเซอร์ผิวหนังและการออกแบบรูปหน้าและรูปร่าง